Information

Solar Cell information

เตรียมพร้อมทุกขั้นตอน เพื่องานติดตั้งโซลาร์เซลล์อย่างมีประสิทธิภาพ และมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดของลูกค้า!

เตรียมพร้อมทุกขั้นตอน เพื่องานติดตั้งโซลาร์เซลล์อย่างมีประสิทธิภาพ และมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดของลูกค้า!

ติดตั้งโซลาร์เซลล์กับ W&W Energy: มั่นใจเต็ม 100% ทุกขั้นตอน หากคุณกำลังมองหาผู้ให้บริการติดตั้งโซลาร์เซลล์ที่สามารถมอบความมั่นใจและความสบายใจตลอดทุกขั้นตอน W&W Energy คือคำตอบที่ดีที่สุดสำหรับคุณ! เราคือผู้เชี่ยวชาญด้านการติดตั้งโซลาร์เซลล์แบบครบวงจร ที่มุ่งมั่นให้บริการด้วยคุณภาพและใส่ใจในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การวางแผนจนถึงการติดตั้งเสร็จสมบูรณ์ ทีมช่างมืออาชีพที่พร้อมบริการคุณ ทีมช่างของเราผ่านการฝึกอบรมมาอย่างดี และมีความพร้อมในทุกด้านเพื่อมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ:✔️ แต่งกายอย่างมืออาชีพ – ทีมช่างทุกคนมาพร้อมชุดเครื่องแบบที่สะอาดและดูดี เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจและความเป็นระเบียบ✔️ อุปกรณ์ครบครันเพื่อการติดตั้งที่แม่นยำ – เราใช้เครื่องมือและอุปกรณ์คุณภาพสูง เพื่อให้การติดตั้งมีความถูกต้องและปลอดภัย✔️ เก็บงานเรียบร้อยหลังการติดตั้งเสร็จ – เราใส่ใจเรื่องความสะอาดและเรียบร้อยของพื้นที่ติดตั้ง เพื่อให้คุณมั่นใจได้ว่าไม่มีความยุ่งเหยิงหลังจบงาน เตรียมพร้อมทุกขั้นตอนเพื่อพลังงานสะอาด W&W Energy ให้ความสำคัญกับการวางแผนและดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้การติดตั้งโซลาร์เซลล์ของคุณราบรื่นและได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด: การสำรวจหน้างาน – เราส่งทีมผู้เชี่ยวชาญไปสำรวจพื้นที่เพื่อให้แน่ใจว่าการติดตั้งเหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงสุด การออกแบบระบบที่เหมาะสม – เราเลือกใช้โซลูชันที่ตอบโจทย์ความต้องการเฉพาะของแต่ละบ้านหรือธุรกิจ การติดตั้งที่ได้มาตรฐาน – ด้วยทีมช่างที่มากประสบการณ์ คุณจึงมั่นใจได้ว่าแผงโซลาร์เซลล์จะได้รับการติดตั้งอย่างแข็งแรงและปลอดภัย ความใส่ใจที่มอบความประทับใจ สิ่งที่ทำให้ W&W Energy แตกต่างคือความใส่ใจในทุกรายละเอียด เราไม่เพียงแต่ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ แต่ยังให้คำแนะนำในการดูแลรักษาเพื่อให้ระบบของคุณทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพและยาวนานที่สุด เปลี่ยนบ้านคุณให้เป็นแหล่งพลังงานสะอาดวันนี้! ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการใช้พลังงานสะอาดเพื่อโลกที่ดีกว่า และประหยัดค่าไฟฟ้าในระยะยาวกับ W&W Energy …

เตรียมพร้อมทุกขั้นตอน เพื่องานติดตั้งโซลาร์เซลล์อย่างมีประสิทธิภาพ และมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดของลูกค้า! Read More »

มิเตอร์ไฟฟ้าทั่วไป กับมิเตอร์ TOU แตกต่างกันอย่างไร

มิเตอร์ไฟ TOU กับมิเตอร์ไฟฟ้าทั่วไป แตกต่างกันอย่างไร

มิเตอร์ไฟ TOU กับมิเตอร์ไฟฟ้าทั่วไป แตกต่างกันอย่างไร 1. มิเตอร์ไฟฟ้าทั่วไป มิเตอร์ไฟฟ้าทั่วไป เป็นระบบมิเตอร์ ที่จะมีการคิดค่าบริการ ขึ้นอยู่กับเรทของทางการไฟฟ้าเป็นผู้กำหนด คิดค่าไฟแบบ Progressive rate หรืออัตราก้าวหน้า คือหมายถึง หากเรามีการใช้งานไฟฟ้าเยอะ ค่าบริการไฟฟ้าต่อหน่วยยิ่งแพงขึ้นตามการใช้งาน แบบที่เราคุ้นเคยกันทั่วไป 2. มิเตอร์ไฟฟ้า แบบ Time of Use Meter หรือ TOU มิเตอร์ไฟฟ้า แบบ Time of Use Meter  หรือ  TOU เป็นมิเตอร์ไฟฟ้าที่ออกแบบมาเพื่อคิดค่าไฟฟ้าในอัตราที่แตกต่างกันตามช่วงเวลาการใช้งานในแต่ละช่วง ซึ่งจะแบ่งเป็นช่วงเวลาดังนี้ On Peak คือ ช่วงเวลาที่มีการใช้งานไฟฟ้าสูงสุด ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูง ส่วนใหญ่จะเป็นช่วงกลางวันไปจนถึงดึก เช่น วันจันทร์ – ศุกร์ ช่วงเวลา 00 – 22.00 น. ซึ่งจะทำให้อัตราค่าไฟฟ้าสูงตามไปด้วย หากเราหันมาใช้มิเตอร์ TOU …

มิเตอร์ไฟ TOU กับมิเตอร์ไฟฟ้าทั่วไป แตกต่างกันอย่างไร Read More »

ระบบโซล่าเซลล์ (Solar cell system)

ระบบโซล่าเซลล์ (Solar cell system) ระบบโซล่าเซลล์ (Solar cell system) จากที่หลายคนให้ความสนใจเรื่อง โซล่าเซลล์ และต้องการทราบว่าระบบของโซล่าเซลล์นั้นมีกี่ประเภท และมีรายละเอียดอย่างไรบ้าง วันนี้ Werwind Energy จะมาแนะนำเรื่อง ระบบโซล่าเซลล์ (Solar cell system) ให้ผู้ที่สนใจได้ลองศึกษา และเลือกให้ให้เหมาะสมกับการใช้งานครับ โดยทั่วไประบบโซล่าเซลล์ ที่เราใช้กันอย่างแพร่หลายนั้นมีอยู่ 2 ระบบหลัก คือ On grid, Off grid และปัจจุบัน มีระบบที่ติดตั้งรูปแบบ Hybrid เข้ามาเพื่อปรับใช้ให้ตอบโจทย์ของผู้ใช้งานมายิ่งขึ้น 1. ระบบโซล่าเซลล์ประเภท on grid เป็นการติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ที่มีการเชื่อมต่อกับ Grid หรือระบบไฟฟ้าของภูมิภาคหรือไฟฟ้านครหลวง ซึ่งระบบที่นิยมและค่าใช้จ่ายไม่สูง เนื่องจากระบบนี้ไม่มีความจำเป็นต้องใช้ Battery ในการสำรองไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ โดยรูปแบบการต่อแผงโซล่าเซลล์จะได้ไฟฟ้ากระแสตรงมา ดำเนินการต่อผ่าน Inverter เพื่อทำการแปลงไฟฟ้าจากระแสตรงเป็นกระแสสลับ เพื่อใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าต่อไปในบ้านหรือโรงงาน แต่ที่ Inverter และ Switch boarder นั้นจะมีการต่อกับ Grid …

ระบบโซล่าเซลล์ (Solar cell system) Read More »

ระบบไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส ควรเลือกติดตั้งโซล่าเซลล์อย่างไร

ระบบไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส ควรเลือกติดตั้งโซล่าเซลล์อย่างไร

ระบบไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส ควรเลือกติดตั้งโซล่าเซลล์อย่างไร ปัจจุบัน ไฟฟ้า เป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญ ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ เป็นพลังงานที่อำนวยความสะดวกให้กับเรามาอย่างยาวนาน เราต้องใช้ในทุกๆวัน และขาดไม่ได้  การเลือกใช้ไฟฟ้าขนาด ที่เหมาะสมกับ ความจำเป็นก็เป็นสิ่งที่สำครัญ เมื่อชีวิตของเราต้องอยู่ใกล้กับไฟฟ้าถึงขนาดนี้ จึงควรศึกษาเรื่องราวที่น่าสนใจของไฟฟ้า ถ้าเกิดปัญหาเรื่องระบบไฟภายในบ้านจะได้รู้ว่าเกิดจากสาเหตุใด โดย ระบบไฟฟ้า 1เฟส กับ 3 เฟส  ที่ถูกใช้งานมากที่สุด ระบบไฟฟ้าแบบ 1 เฟส (1phase 2 wire) ระบบไฟฟ้าแบบ 1 เฟส มีมิเตอร์ไฟแรงดัน 220V (โวลต์) มีสายไฟ 2 สาย คือ สายไฟ (L) เเละสายนิวทรอล (N) ต่อเข้ากับตู้เมนไฟฟ้าในบ้าน (Main Breaker หรือเรียกว่าคอนซูเมอร์ยูนิต) เหมาะกับบ้านพักอาศัยทั่วไป บ้านจัดสรร หรือห้องชุดที่คาดว่าจะใช้ไฟไม่มาก โดยส่วนใหญ่จะติดตั้งระบบไฟฟ้า …

ระบบไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส ควรเลือกติดตั้งโซล่าเซลล์อย่างไร Read More »

เสี่ยงไฟไหม้บ้าน ถ้าติด SOLAR CELL ที่ไม่ได้ มาตรฐาน !

เสี่ยงไฟไหม้บ้าน ถ้าติด SOLAR CELL ที่ไม่ได้มาตรฐาน !

เสี่ยงไฟไหม้บ้าน ถ้าติด Solar cell ที่ไม่ได้ มาตรฐาน ! ต้องยอมรับว่าปัจจุบัน กระแสการติดตั้งโซล่าเซลล์ มีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น เนื่องจากประเทศไทยในช่วงฤดูร้อน มีการใช้ตัวช่วยอย่างเครื่องปรับอากาศที่มากขึ้น ซึ่งมาพร้อมกับค่าไฟที่มหาศาล การติดตั้งโซล่าเซลล์จึงเป็นทางออกที่ดีและตอบโจทย์ที่สุดกับการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ มาให้ใช้เพื่อทดแทนการจ่ายค่าไฟที่แสนแพง แต่การติดตั้งโซลาเซลล์ ก็มีความ เสี่ยงไฟไหม้บ้าน ถ้าติด SOLAR CELL ที่ไม่ได้ มาตรฐาน แล้วอะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้แผงโซล่าเซลล์ไฟไหม้? โดยสาเหตุหลายประการที่ทำให้เกิดเหตุเพลิงไหม้ มีดังนี้ ระบบไม่ได้ออกแบบให้มีความปลอดภัย ระบบไม่ได้ออกแบบให้มีความปลอดภัย  ในการติดตั้งโซล่าเซลล์นั้นขั้นตอนที่สำคัญเลยคือการสำรวจหน้างาน และวิเคราห์โดยวิศวกรที่ชำนาญ และได้รับการออกแบบเป็นไปตามมารตฐานกำหนด ดังนั้นการออกแบบระบบไปให้ถูกต้อง จะช่วยลดความเสี่ยงไฟไหม้บ้าน ได้ ติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าไม่ถูกต้อง ติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าไม่ถูกต้อง  การเลือกวางตำแหน่งของอุปกรณ์ต่างๆ ก็มีผลกับความปลอดภัย ในการติดตั้งโซล่าเซลล์  เช่น การวาง inverter  ไว้ในจุดที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก หรือโอเพ่นแอร์ ที่มีหลังคา กันแดดกันฝนได้ เพราะตัว Inverter เมื่อทำงานแล้วก็มีความร้อนออกมาจากตัว  ติดตั้งระบบหยุดทำงานฉุกเฉิน โดยติดตั้งสวิตช์เริ่มการทำงานระบบหยุดทำงานฉุกเฉิน (rapid shutdown) ในกรณีเกิดไฟไหม้ เพื่อให้นักดับเพลิงสามารถเข้าไปควบคุมเพลิงใหม้ในอาคารได้อย่างรวดเร็ว …

เสี่ยงไฟไหม้บ้าน ถ้าติด SOLAR CELL ที่ไม่ได้มาตรฐาน ! Read More »

โซล่าเซลล์ทำงานหน้าฝนได้ไหม

โซล่าเซลล์ทำงานหน้าฝนได้ไหม ?

โซล่าเซลล์ทำงานหน้าฝนได้ไหม ? หลายๆคน เข้าใจว่าในหน้าฝนไม่มีแดด ติดตั้งโซล่าเซลล์ไปก็ใช้งานไม่ได้ โซล่าเซลล์ทำงานหน้าฝนได้ไหม ?    จริงๆแล้ว การทำงานของโซล่าเซลล์นั้น คือการใช้ความสว่างของแสงอาทิตย์ ซึ่งเราอาจไม่ทราบเลยว่าต่อวัน จะมีปริมาณแดดเท่าไร ความเข้มแสง มาก-น้อย แค่ไหนแต่ที่สำคัญคือ ต่อให้เมื่อไม่มีแดดหรือแสงน้อย โซล่าเซลล์สามารถใช้งานในหน้าฝนได้ เพียงแต่อาจจะผลิตกำลังไฟได้น้อยกว่าในช่วงฤดูร้อนหรือฤดูหนาวที่มีแสงแดดจัดกว่า โซล่าเซลล์ทนน้ำหรือเปล่า ?     จริงๆแล้วโซล่าเซลล์ มีคุณสมบัตร ทนน้ำ กรณีที่มีฝนตก สามารถสบายใจหายห่วงได้ เพราะน้ำฝนที่ตกลงมาไม่ได้ทำให้ระบบแผงโซล่าเซลล์เกิดความเสียหาย แต่อีกกรณีหนึ่ง คือการที่ติดตั้งแผงในที่ต่ำ น้ำท่วมและแผงโซล่าเซลล์แช่น้ำในระยะเวลาที่นาน ส่วนนี้ต้องระมัดระวัง ให้ช่างที่เชี่ยวชาญมาช่วยประเมิน เพราะโซล่าเซลล์ทนน้ำ แต่ไม่ได้กันน้ำแบบ 100% ถ้าแช่น้ำจากน้ำท่วมอาจทำให้แผงโซล่าเซลล์เกิดความเสียหายได้ และอาจไม่ปลอดภัยกับการใช้งาน แล้วจะดูแลโซล่าเซลล์อย่างไรในช่วงหน้าฝน ? หมั่นตรวจสอบว่าโซล่าเซลล์ทำงานได้ปกติไหม รวมไปถึง ตรวจสอบสถานะของอุปกรณ์อื่นๆ  ตรวจสอบว่าสายส่งไฟฟ้าหรือชุดอุปกรณ์อื่น ๆ ที่เชื่อมต่อกับโซลาร์เซลล์ยังทำงานอย่างถูกต้องหรือไม่ ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ใน Application ตรวจสอบระบบการระบายน้ำให้แน่ใจว่าระบบการระบายน้ำบนหลังคาที่ติดตั้งโซลาร์เซลล์ระบายน้ำเป็นอย่างดี เนื่องจากน้ำที่ค้างอยู่บนหลังคาอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อแผงได้ ตรวจสอบความสะอาดของแผงโซล่าเซลล์ เพื่อประสิทธิภาพในการทำงานที่ดีที่สุด โซล่าเซลล์ทำงานหน้าฝนได้ไหม ? Read …

โซล่าเซลล์ทำงานหน้าฝนได้ไหม ? Read More »

Solar Cell Panel Maintenance

การดูแลแผงโซล่าเซลล์ (Solar Cell Panel Maintenance)

การดูแลแผงโซล่าเซลล์ (Solar Cell Panel Maintenance) อีกหนึ่งเรื่องที่สำคัญของการติดตั้งโซล่าเซลล์ คือการที่เราสามารถผลิตไฟฟ้าได้ยาวนานและคงทน ที่สุดนั้นคือ การดูแลรักษาและ การการดูแลแผงโซล่าเซลล์ (Maintenance) ใน 1 ปี แผงโซล่าเซลล์ อาจมีสิ่งสกปรก เช่น ฝุ่นจากมลภาวะ ใบไม้ คราบน้ำฝน  ที่บดบังอาจทำให้โซล่าเซลล์ (Solar Cell) มีประสิทธิภาพน้อยลง แต่เราควรจะดูแลทำความสะอาดพื้นผิวอย่างไรเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายต่อโซล่าเซลล์ (Solar Cell) 1. การดูแลแผงโซล่าเซลล์ (Solar Cell Panel Maintenance) เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการผลิตกระแสไฟฟ้า การดูแลแผงโซล่าเซลล์ (Solar Cell Panel Maintenance)   เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการผลิตกระแสไฟฟ้า เราควรทำความสะอาดแผงโซล่าเซลล์ (Solar Cell Panel ) แผงด้วยน้ำสะอาดอย่างน้อยๆ 1ครั้งต่อ 1 ปี และหมั่นตรวจสอบแผงไม่ให้มีรอยแตกหรือมีร่องรอยน้ำซึมเข้าด้านในแผง และการบังเงาบนแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ถ้ามีคราบสกปกให้ใช้ฟองน้ำทำความสะอาดด้วยน้ำเปล่า และที่สำคัญ ไม่ควรใช้แปลงโลหะหรือสารเคมีในการทำความสะอาดเพราะอุปกรณ์และน้ำยาทำความสะอาดดังกล่าวจะทำให้เกิดรอยที่ผิวแผงพลังงานแสงอาทิตย์ได้ โดย …

การดูแลแผงโซล่าเซลล์ (Solar Cell Panel Maintenance) Read More »

Solar-permission

การขออนุญาตติดตั้งระบบโซล่าเซลล์

การขออนุญาตติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ แบ่งออกเป็น 2 แบบกล่าวคือ 1. การขออนุญาตเพื่อขอขายไฟคืน ตามโครงการไฟฟ้าภาคประชาชน (ต้องติดตั้งขนาดที่มีกำลังการผลิตไม่เกิน10 กิโลวัตต์)และต้องเป็นบ้านพักอาศัยเท่านั้น (ประเภท1) 2. การขอขนานไฟเพื่อติดตั้งโซล่าเซลล์ โดยติดตั้งที่มีกำลังการผลิตเพื่อใช้งาน โดยไม่ได้ขายไฟคืน โดยมี 3 หน่วยงานหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องในการขออนุญาติติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ 1. สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) เพื่อแจ้งแสดงความจำนงขอเป็นผู้ประกอบกิจการพลังงานที่ได้รับการยกเว้นฯ การผลิตไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ และหรือ ขอรับใบอนุญาตทำการผลิตพลังงานควบคุมผ่านช่องทางออนไลน์ 2. องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น หรือ สำนักงานเขต ในกรณีที่เมื่อติดตั้งโซล่าเซลล์ บนหลังคาขนาดพื้นที่มากกว่า 160 ม.2 และมีน้ำหนักมากกว่า 20 ก.ก./ม.2 อาคารที่จะติดตั้งโซล่าเซลล์ เพื่อขอรับใบอนุญาตก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคาร (อ.1) ในกรณีติดโซล่าเซลล์บนหลังคาโดยใช้พื้นที่ไม่เกิน 160 ม.2 ซึ่งมีน้ำหนักรวมไม่เกิน 20 ก.ก./ม.2 จะถือว่าไม่เป็นการดัดแปลงอาคาร จึงถือว่าไม่ต้องขอรับใบอนุญาตก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคาร (อ.1) แต่อย่างไรก็ตามต้องมีแบบคำนวณโครงสร้างเพื่อประเมินความแข็งแรงของหลังคาที่เซ็นโดยวิศวกรโยธาในทุกกรณี 3. การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) หรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ในเขตพื้นที่เพื่อให้ตรวจสอบอุปกรณ์ที่ใช้ติดตั้งและเปลี่ยนระบบมิเตอร์ใหม่ โดยต้องมีแบบ …

การขออนุญาตติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ Read More »

ติดตั้งโซล่าเซลล์ Werwind

ทำไมต้องติดตั้งโซล่าเซลล์

ทำไมต้อง ติดตั้งโซล่าเซลล์ ติดตั้งโซล่าเซลล์ ให้แสงแดดจ่ายค่าไฟ คุณกำลังลังเลเรื่องการทนจ่ายค่าไฟแพงหรือจะติดตั้งโซล่าเซลล์เพื่อลดค่าไฟอยู่ใช่ไหมวันนี้ Werwind Energy Solar พันธมิตรด้านพลังงานสะอาดจะมาช่วยคุณในการตอบคำถามที่ยังค้างคาใจของคุณ ในปัจจุบันค่าไฟของบ้านที่อยู่อาศัยในปัจจุบัน อยู่ในอัตราราคา 4.4 บาท และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นในปี พ.ศ. 2567 ซึ่งปฏิเสธไม่ได้เลยว่าในบ้านที่เป็น สถานที่ทำงาน (Office Home) ที่เป็นสถานที่ทำงานของคนยุคใหม่ หลังจาก Covid-19 ยังต้องWork from home หรือบ้านที่มีคนสูงอายุอาศัยอยู่ในช่วงเวลากลางวันนั้น หรือช่วงปิดเทอมที่คุณพ่อคุณแม่ให้ลูกๆอยู่บ้านเพื่อพักผ่อน มีการเปิดแอร์ เปิดทีวี รวมไปถึงสำนักงาน ร้านอาหาร สถานประกอบการทั่วไป และมีค่าใช้จ่ายไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้นเป็นจำนวนมาก การติดตั้งโซล่าเซลล์จะให้ผลลัพธ์ที่คุณคาดไม่ถึง ซึ่งวันนี้ Werwind Energy Solar จะตอบคำถามที่คุณค้างคาใจว่าคุณควรจะติดตั้งโซล่าเซลล์แล้วหรือยัง 1. พลังงานแสงอาทิตย์นั้นฟรีไม่มีค่าเช่าหรือค่าใช้จ่าย การติดตั้งโซล่าเซลล์ (Solar Cell) ช่วยประหยัดเงินจากค่าติดตั้งเริ่มแรกอยู่ที่ 129,000 บาท  ซึ่งเป็นราคาที่เริ่มถูกลงแล้วจากราคาในช่วงหลายปีที่ผ่านมา อีกทั้งอุณหภูมิของประเทศไทยนั้นร้อนแรงมากขึ้นทุกๆปี โดยเฉพาะช่วงหน้าร้อนเดือนเมษายนนั้นต้องเปิดเครื่องปรับอากาศแทบทั้งวัน เพียงแค่คุณลงทุนในการติดตั้งระบบโซล่าเซลล์เข้าไปในบ้านของคุณ เท่ากับว่าคุณจับจองเป็นเจ้าของพลังงานแสงอาทิตย์ที่ไม่มีวันหมด เพื่อใช้ในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าบ้านคุณอย่างน้อยขั้นต่ำ 40-50% ต่อเดือนยาวไปถึง …

ทำไมต้องติดตั้งโซล่าเซลล์ Read More »

inverter-comparison

ข้อดีข้อเสีย ระบบโซล่าเซลล์อินเวอร์เตอร์

ข้อดีข้อเสีย ระบบโซล่าเซลล์อินเวอร์เตอร์ ระบบโซล่าเซลล์อินเวอร์เตอร์ (Inverter) คือหนึ่งอุปกรณ์ที่ทำหน้าเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตจากแผงโซล่าเซลล์จากรูปแบบกระแสตรง (DC) เป็นกระแสสลับ (AC) ก่อนเชื่อมต่อกับระบบไฟฟ้าของตัวบ้านเพื่อนำไปใช้งานตามมาตรฐานของเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งปัจจุบันมีด้วยกัน 2 ระบบ คือ 1. ระบบสตริงอินเวอร์เตอร์ (String Inverter) 2. ระบบไมโครอินเวอร์เตอร์ (Micro Inverter) จะเห็นได้ว่ารูปแบบการติดตั้งหลักๆที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดคือ ระบบสตริงอินเวอร์เตอร์ (String Inverter) จะติดตั้งในส่วนของอุปกรณ์อินเวอร์เตอร์ในส่วนด้านล่างของตัวบ้าน และส่วนมากใช้เพียงแค่ตัวเดียว แต่ในส่วนของระบบไมโครอินเวอร์เตอร์ (Micro Inverter) จะติดตั้งในส่วนของอุปกรณ์อินเวอร์เตอร์ข้างใต้แผงโซล่าเซลล์บนหลังคาไว้ด้วยกันเลย และมีจำนวนตัวอินเวอร์เตอร์แปรผันตามจำนวนแผงโซล่าเซลล์บนหลังคาในรูปแบบ 1:1 หรือ 1:4 (จำนวนไมโครอินเวอร์เตอร์ ต่อ จำนวนแผงโซล่าเซลล์) ข้อดีและข้อเสีย ของระบบโซล่าเซลล์อินเวอร์เตอร์แต่ละเรื่อง 1. ประสิทธิภาพ การผลิตพลังงานไฟฟ้าโดยรวมต้องยกให้ระบบโซล่าเซลล์ไมโครอินเวอร์เตอร์ (Micro Inverter) มีประสิทธิภาพการผลิตในเชิงทฤษฎี ที่สูงกว่าอย่างเห็นได้ชัด เพราะข้อดีของการที่สามารถควบคุมการทำงานของแผงโซล่าเซลล์ได้รายแผงแยกจากกัน ส่งผลให้ประสิทธิภาพของบางแผงโซล่าเซลล์ที่อาจจะตกลงจากเงาที่บัง ไม่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพของแผงโซล่าเซลล์แผ่นอื่นๆที่อยู่ในระบบ สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้เต็มทีให้กับระบบ ต่างกับระบบโซล่าเซลล์สตริงอินเวอร์เตอร์ (String Inverter) ทีมีการต่อสายไฟฟ้าของทุกแผงโซล่าเซลล์เข้าด้วยกันในรูปแบบอนุกรมกัน …

ข้อดีข้อเสีย ระบบโซล่าเซลล์อินเวอร์เตอร์ Read More »

Scroll to Top